การออกแบบการสอน ADDIE MODEL จากงานวิจัย

Related image
งานวิจัยเรื่อง: การพัฒนานวัตกรรม “เกมการประสมคำภาษาไทย” เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ อ้างอิงจาก  http://hs.pbru.ac.th/journal/wp-content/uploads/2018/09/2560-2-4.pdf

1. ขั้นการวิเคราะห์ Analysis

1.1  กลุ่มเป้าหมาย: นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดเขาย้อยไพบูลอุปถัมภ์ (แสงส่องหล้า 5)
จำนวน 60

1.2  วิเคราะห์ปัญหาการอ่านออกเขียนได้ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปี การศึกษา 2558 ระยะเวลาในการวิจัย ใช้เวลาทดลอง ใ น ภ า ค เ รี ย น ที่ 2 ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2529 (1 พฤศจิกายน 2529 - 31 มีนาคม 2560)
1.3 วิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ของวิชาภาษาไทย
1.4 ศึกษาสภาพปัญหาการเรียนการสอนภาษาไทยจากเอกสารและงานวิจัยที่
เกี่ยวข้อง
1.5 วิเคราะห์ปัญหาและเทคนิควิธีการสอน


2. ขั้นการออกแบบ Design

2.1 ระบุวัตถุประสงค์ของการทำวิจัยเรื่อง การพัฒนานวัตกรรม “เกมการประสมคำภาษาไทย”
เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้  

2.2 สร้างแผนการเรียนรู้คำศัพท์ภาษาไทยโดยใช้เกมประกอบ ซึ่งสร้างและพัฒนาขึ้นโดยผู้วิจัย
2.3 สร้างแบบทดสอบการเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
2.4 สร้างแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
2.5 เก็บรวบรวมข้อมูลทั้งหมด

3. ขั้นการพัฒนาและหาประสิทธิภาพ Development

3.1 สร้างเครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่นวัตกรรมเกมการประสมค าเพื่อพัฒนาการอ่านออกเขียนได้ตามแนวคิด ทฤษฎีสร้างความรู้ใหม่โดยผู้เรียน (constructivism) เน้นกระบวนการสร้างความรู้และปฏิบัติได้จริงให้สอดคล้องกับจิตวิทยาการเรียนรู้ของเด็กวัย 7-8 ปี ซึ่งจัดกิจกรรมที่มีลักษณะเล่นเพื่อการเรียนรู้ (play to

learning) ใช้โปรแกรมอาดุยโน ( Arduino)บันทึกค าที่ใช้อ่านเขียนลงในส่วนประกอบของอุปกรณคอมพิวเตอร์ที่ใช้สร้างนวัตกรรมและหาประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่ ตั้งไว้ E1/E2= 80/803.


3.2 ตรวจสอบคุณภาพโดยผู้เชี่ยวชาญ 5 ท่าน ทดลองใช้นวัตกรรมเกมการประสมคำการเรียนรู้ภาษาไทย เพื่อทดสอบประสิทธิภาพกับกลุ่มตัวอย่างที่ไม่ใช่กลุ่มทดลองจริง


3.3. ใช้รูปแบบการ วิจัยเชิงทดลอง (True-experiment) การทดลอง แบบ 2 กลุ่มตัวอย่างมีกลุ่มควบคุมและกลุ่ม ทดลองมีการวัดผล 2 ครั้ง ก่อนและหลังการ ทดลอง

3.4 ประชุมเชิงนโยบายเพื่อหาข้อเสนอเชิงนโยบาย ณ ห้องไพทูรย์ โรงแรม เดอะรอยัลไดมอล เพชรบุรี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ใน การจัดประชุมเลือกแบบเจาะจงตามเกณฑ์ คุณสมบัติ คือ ผู้บริหารการศึกษาระดับจังหวัด ร ะ ดั บ ส า นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ศึกษานิเทศก์ ผู้บริหารสถานศึกษา และ ครูผู้สอนภาษาไทย รวมจ านวน 12 คน และผู้ เข้าฟัง จ านวน 15 คนเก็บรวบรวมข้อมูลโดย อภิปรายซักถาม ในที่ประชุม ถ่ายภาพ และ บันทึกเสียง วิ เคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เชิง เนื้อหา

4. ขั้นการทดลองใช้รูปแบบ Implement
4.1 ผู้วิจัยนำแผนการสอนไปดำเนินการสอนตามแผนการเรียนรู้ที่กำหนดไว้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดเขาย้อยไพบูลอุปถัมภ์ (แสงส่องหล้า 5)  
4.2 ผู้วิจัยนำเกมการประสมคำภาษาไทยและแบบสอบถามที่ตนเองสร้างขึ้นไปให้นักเรียนได้ทำ


5. ขั้นประเมินและปรับปรุงรูปแบบ Evaluation
5.1 ผู้วิจัยหาค่าความเชื่อมั่นโดยใช้สถิติวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐาน และการทดสอบ
5.2  ศึึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่ เรียนโดยใช้นวัตกรรมเกมการประสมคำภาษาไทยเพื่อพัฒนาการอ่านออกเขียนได้

Image result for สมุดประสมคำ รถอ่านคำการพัฒนานวัตกรรม “เกมการประสมค าภาษาไทย” เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้
Image result for สมุดประสมคำ รถอ่านคำการพัฒนานวัตกรรม “เกมการประสมค าภาษาไทย” เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้














Image result for สมุดประสมคำ รถอ่านคำการพัฒนานวัตกรรม “เกมการประสมค าภาษาไทย” เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้

       

Comments

Popular posts from this blog

ตัวอย่าง การออกแบบสอนด้วย ADDIE Model วิชาภาษาอังกฤษ

การสร้างข้อสอบคู่ขนาน

บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 2